แสดงผล
ขนาดตัวอักษร
เลือกภาษา

วิสัย์ทัศน์ พันธกิจ

วิสัย์ทัศน์ พันธกิจ

วิสัย์ทัศน์ พันธกิจ
 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา

สาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

                  

1  วิสัยทัศน์    “องค์กรคุณภาพ บริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการ เรียนดี มีความสุข  รู้เท่าทันโลกยุคใหม่ พัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ EEC” 

 

2 วัฒนธรรมองค์กร  เน้นรอบคอบ ชอบแบ่งปัน รักสร้างสรรค์ และร่วมสร้างสามัคคี 

 

3  พันธกิจ 

               1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีความสุข และทักษะสำหรับโลกยุคใหม่

               2. ส่งเสริม สนับสนุน สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม เหมาะสมตามศักยภาพและช่วงวัยของผู้เรียน

               3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ ทุกประเภท ทุกสังกัด ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

               4. ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนตามความต้องการของตลาดแรงงาน

               5. พัฒนาสมรรถนะของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา  ให้มีคุณภาพเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

               6. ส่งเสริม  สนับสนุน การจัดการศึกษาโดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัล และน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ

               7. บริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการทุกระดับ ทุกประเภท ทุกสังกัด ด้วยกลไกเครือข่ายทางการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

 

4  เป้าประสงค์รวม

               1. ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความเป็นไทย เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่และมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

               2. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เสมอภาค และเท่าเทียม

               3. ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและสมรรถนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

               4. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ  ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็วโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล      

               5. หน่วยงานและสถานศึกษามีการจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล และน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ

               6. หน่วยงานมีนวัตกรรมที่พัฒนาทักษะผู้เรียนตรงตามความต้องการของตลาดงาน

 

5  ประเด็นยุทธศาสตร์  

      1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง 

      2. พัฒนากำลังคนเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

      3. พัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ

      4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

      5. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

      6. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

 

6  ประเด็นยุทธศาสตร์  เป้าประสงค์  และกลยุทธ์

ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

กลยุทธ์

1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง 

 

1.1 ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและทักษะที่จำเป็นกับการเสริมสร้าง

1.1.1 ปลูกฝังค่านิยมและหลักคิดที่ถูกต้องของผู้เรียนเพื่อธำรงไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

 

ความมั่นคงของประเทศ

1.1.2 บูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่

 

 

1.1.3 สร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้และวิชาชีพด้วยศาสตร์พระราชาและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. พัฒนากำลังคน

เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

2.1 ผู้เรียนมีสมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน

2.1.1 ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแรงงานฝีมือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

 

 

2.1.2 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและสมรรถนะด้าน Soft Power ให้กับผู้เรียน

 

 

3. พัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ

3.1 ผู้เรียนมีคุณภาพ ความสุข ทักษะ         และคุณลักษณะ          

3.1.1 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้  และพัฒนาศักยภาพตามพหุปัญญาผ่านการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลายรองรับโลกยุคใหม่

 

ที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้  ในโลกยุคใหม่

3.1.2 ส่งเสริม สนับสนุน การใช้สื่อ เทคโนโลยีดิจิตัล แพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่เหมาะสม ให้ครอบคลุมหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

 

 

3.1.3 บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความปลอดภัยของผู้เรียนและความเป็นพลเมืองตื่นรู้

 

 

3.1.4 ส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย นวัตกรรมทางการบริหารและพัฒนาการศึกษาที่มีคุณภาพ

 

3.2 ครู และบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

3.2.1 ยกระดับคุณภาพและสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

4.1 ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาคด้วยรูปแบบที่หลากหลาย

4.1.1 สร้างและเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง

เสมอภาคและเท่าเทียม

5. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

5.1. หน่วยงานและสถานศึกษามีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร

กับสิ่งแวดล้อม

5.1.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักรู้คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยรูปแบบที่หลากหลาย

6. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

6.1 หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มี

6.1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง

 

ประสิทธิภาพและโปร่งใส

6.1.2 ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการและผู้รับบริการ

 

 

 

6.2 บูรณาการความร่วมมือหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการจัด

6.2.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและเชื่อมโยงกันในทุกระดับ ทุกประเภท ทุกสังกัด

 

การศึกษาอย่างมีคุณภาพ

6.2.2 สร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบในกิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง และติดตามพฤติกรรมเสี่ยงการทุจริต

 

6.3 ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาอื่นมีสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

6.3.1 พัฒนาข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาอื่นเพื่อยกระดับขีดสมรรถนะให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่

7  ประเด็นยุทธศาสตร์  เป้าประสงค์รายประเด็นยุทธศาสตร์  ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

 

ประเด็นยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

กลุ่มที่รับผิดชอบ

1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง 

1.1 ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและทักษะ

1. ร้อยละของสถานศึกษาเอกชนจัดกิจกรรมการพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ 

100

ลูกเสือ ยุวกาชาด

และกิจการนักเรียน

 

ที่จำเป็นกับการเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ

2. ร้อยละของนักเรียนสังกัดสถานศึกษาเอกชนที่ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ (ยาเสพติด, ภัยไซเบอร์,  ภัยพิบัติธรรมชาติ, โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ)

80

พัฒนาการศึกษา

2. พัฒนากำลังคนเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

2.1 ผู้เรียนมีสมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน

3. ร้อยละของสถานศึกษาเอกชนที่จัดการเรียนการสอน/กิจกรรม  ที่ส่งเสริมพัฒนาด้านทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำหรือประกอบอาชีพได้

100

(1) พัฒนาการศึกษา

(2) นิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

3. พัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ

3.1 ผู้เรียนมีคุณภาพ ความสุข ทักษะ และคุณลักษณะ          ที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ในโลก

4. ร้อยละของนักเรียนสังกัดสถานศึกษาเอกชนที่ผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ระดับดีขึ้นไป

90

ส่งเสริมการศึกษาเอกชน

 

ยุคใหม่

5. ร้อยละของนักเรียนสังกัดสถานศึกษาเอกชนที่มีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) ในระดับดีขึ้นไป

80

นิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

 

 

6. ร้อยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสถานศึกษาเอกชนที่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานร้อยละ 50 ขึ้นไป ของคะแนนเต็มใน 4 วิชาหลักต่อจำนวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เข้ารับการทดสอบ 

 

นิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

 

 

ได้แก่

(1) ภาษาไทย

84

 

 

 

 

(2) ภาษาอังกฤษ

10

 

 

 

 

(3) คณิตศาสตร์

8

 

 

 

 

(4) วิทยาศาสตร์

8

 

 

 

7. ร้อยละของเด็กปฐมวัยสังกัดสถานศึกษาเอกชนมีพัฒนาการสมวัย

87

นิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

 

3.2 ครู และบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

8. ร้อยละของครูสังกัดสถานศึกษาเอกชนได้รับการพัฒนา

ตามสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

 

80

(1) ส่งเสริมการศึกษาเอกชน

(2) นิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

(3) พัฒนาการศึกษา

4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

4.1 ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาคด้วยรูปแบบที่หลากหลาย

9. ร้อยละนักเรียนสังกัดสถานศึกษาเอกชนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสได้รับโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา

และการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความต้องการจำเป็น

100

ส่งเสริมการศึกษาเอกชน

5. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

5.1 หน่วยงานและสถานศึกษามีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

10. ร้อยละของสถานศึกษาเอกชนส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักรู้คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร

กับสิ่งแวดล้อมด้วยรูปแบบที่หลากหลาย 

100

 

นิเทศ ติดตาม

และประเมินผล

6. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

6.1 หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

11. ผลคะแนนประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทราอยู่ในระดับผ่านตามเกณฑ์ ITA  (Integrity & Transparency Assessment)  

87

บริหารงานบุคคล

 

 

12. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการบริการของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา

90

บริหารงานบุคคล

 

6.2 บูรณาการความร่วมมือหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

13. ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณในการขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่

90

อำนวยการ

 

6.3 ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาอื่นมีสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

14. ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษาที่มีการเพิ่มพูนความรู้ในการพัฒนาตนเองเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ

100

บริหารงานบุคคล

 

หมายเหตุ 1. ตัวชี้วัดที่ 7   สอดคล้องกับตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568            

             2. ตัวชี้วัดที่ 1,2,4,6,9,10,11,13,14   สอดคล้องกับตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

             3. ตัวชี้วัดที่ 3   สอดคล้องกับตัวชี้วัดของแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัดฉะเชิงเทรา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568



8  แผนผังความเชื่อมโยงแผน 3 ระดับ ของประเทศสู่แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ  พ.ศ. 2568  ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา

 

แผนระดับ 1             

 

ยุทธศาสตร์ชาติ

(พ.ศ. 2561 - 2580)

 

1. ความมั่นคง

 

2. การสร้างความสามารถ

ในการแข่งขัน

 

3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

 

4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

 

5. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

 

6. การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แผนระดับ 2

 

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

(พ.ศ. 2566 - 2580)

(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)

(23 ประเด็น

สป.เกี่ยวข้อง 12 ประเด็น)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1. ความมั่นคง (แผนย่อยที่ 3.1) การรักษาความสงบภายในประเทศ

(แผนย่อยที่ 3.2) การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง

2. การต่างประเทศ (แผนย่อยที่ 3.2)      ความร่วมมือเศรษฐกิจและความร่วมมือ

เพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ

 

 5. การท่องเที่ยว (แผนย่อยที่ 3.1) การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม

6. พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ (แผนย่อยที่ 3.1) การพัฒนาเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ

 

10. การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม  (แผนย่อยที่ 3.1) ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้างจิตสาธารณะและการเป็นพลเมืองที่ดี

11. ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต (แผนย่อยที่ 3.2)

การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย

(แผนย่อยที่ 3.3) การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น (แผนย่อยที่ 3.4) การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน

(แผนย่อยที่ 3.5) การส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ

12. การพัฒนาการเรียนรู้ (แผนย่อยที่ 3.1) การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง

ในศตวรรษที่ 21 (แผนย่อยที่ 3.2) การตระหนักถึง

พหุปัญญาที่หลากหลาย

23. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม (แผนย่อยที่ 3.2) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านสังคม

 

17. ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม (แผนย่อยที่ 3.1) การคุ้มครองทางสังคมขั้นพื้นฐานและหลักประกัน

ทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ

 

18. การเติบโตอย่างยั่งยืน (แผนย่อยที่ 3.5)

การยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกำหนดอนาคตประเทศ

 

20. การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (แผนย่อยที่ 3.1) การพัฒนาบริการประชาชน แผนย่อยที่ 3.2) การบริหารจัดการการเงินการคลัง  (แผนย่อย  ที่ 3.4) การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ  (แผนย่อยที่ 3.5) การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ

21. การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ  (แผนย่อยที่ 3.1) การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ 

 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสาม

(พ.ศ. 2566 - 2570)

(13 หมุดหมาย

สป.เกี่ยวข้อง 5 หมุดหมาย)

 

หมุดหมายที่ 12  ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต (กลยุทธ์ที่ 1) คนไทยทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ (กลยุทธ์ที่ 3) การเรียนรู้ตลอดชีวิต

 

หมุดหมายที่ 8  ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะ

ที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน (กลยุทธ์

ที่ 1) การสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานราก

(กลยุทธ์ที่ 2) การส่งเสริมกลไกความร่วมมือภาครัฐ เอกชน ประชาชน และประชาสังคมเพื่อการพัฒนาพื้นที่และเมือง

 

หมุดหมายที่ 12  ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต

(กลยุทธ์ที่ 1) คนไทยทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนา

ในทุกมิติ (กลยุทธ์ที่ 3) การเรียนรู้ตลอดชีวิต

 

หมุดหมายที่ 9  ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง

และคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม (กลยุทธ์ที่ 2)  การสร้างโอกาสที่เสมอภาคแก่เด็กจากครัวเรือนยากจนข้ามรุ่น

 

หมุดหมายที่ 11  ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (กลยุทธ์ที่ 2)

การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพประชาชนและชุมชนในการรับมือภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

 

หมุดหมายที่ 13  ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพและตอบโจทย์ประชาชน (กลยุทธ์ที่ 1) การพัฒนาคุณภาพในการให้บริการภาครัฐที่ตอบโจทย์ สะดวกและประหยัด (กลยุทธ์ที่ 2) การปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการและโครงสร้างของภาครัฐให้ยืดหยุ่น เชื่อมโยง เปิดกว้าง และมีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ (กลยุทธ์ที่ 3) ปรับเปลี่ยน ภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัลที่ใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาประเทศ (กลยุทธ์ที่ 4) สร้างระบบบริหารภาครัฐที่ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนและพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะที่จำเป็น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นโยบายและแผนระดับชาติ

ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ

(พ.ศ. 2566-2570)

(17 นโยบายและแผน

สป.เกี่ยวข้อง 7 นโยบายและแผน)

 

1. การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ

5. การป้องกันและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้

6. การบริหารจัดการ

ผู้หลบหนีเข้าเมืองและ

ผู้โยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติ

7. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์

8. การป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติด

9. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

10. การป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทาง

ไซเบอร์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษา

(8 ประเด็น)

 

5. การศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของประเทศ

และการปลูกฝัง

ความรักในสถาบันหลักของชาติ

 

7. ส่งเสริมการสร้างรายได้ให้แก่นักเรียน นักศึกษา  ทั้งสายวิชาการและสายอาชีพ

ให้มีรายได้จากวิชาที่เรียน โอกาสฝึกงานระหว่างเรียน

 

1.ปฏิรูปการศึกษาและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต มุ่งส่งเสริมให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ

2. เสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนตามความถนัด ส่งเสริมการอ่าน เพื่อสร้างอนาคต สร้างรายได้

3. จัดทำหลักสูตรและให้คำแนะนำที่เหมาะสมกับความรู้ ความสนใจของผู้เรียน

4. ส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาทั้งในด้านสังคม

ด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์และการวิจัยชั้นแนวหน้า

6. ความมีคุณภาพของครูทั้งประเทศ รวมไปถึงครูแนะแนว

 

8. แก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาที่เป็นรากฐานสำคัญของความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในสังคมไทย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นโยบายการศึกษา “เรียนดี มีความสุข”

ของรัฐมนตรี

ว่าการกระทรวง

ศึกษาธิการ

ข้อสั่งการและ

แนวปฏิบัติ

(10 นโยบาย)

 

ส.3 น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ

 

น.8 จัดทำระบบวัดผลรับรองมาตรฐานวิชาชีพ

(Skill Certificate)

น.10 มีรายได้ระหว่างเรียน จบแล้วมีงานทำ

(Learn to Earn)

 

น.1 ปรับวิธีการประเมินวิทยฐานะครูและบุคลากรทางการศึกษา

น.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาคืนถิ่น

น.3 แก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา

น.4 จัดหาอุปกรณ์การสอนและสวัสดิการ (1 ครู 1 Tablet)

น.5เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา

น.6 1 อำเภอ 1 โรงเรียนคุณภาพ

น.7 ระบบแนะแนวการเรียน (Coaching) และเป้าหมายชีวิต

น.9 จัดทำระบบวัดผลเทียบระดับการศึกษาและประเมินผลการศึกษา

ส.5 ส่งเสริมการอ่านอย่างเป็นกระบวนการ โดยครูเป็นต้นแบบ

 

น.5 เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime) เรียนฟรี มีงานทำ “ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง” มีระบบหรือแพลตฟอร์มการเรียนรู้ (1 นักเรียน 1 Tablet)

 

ส.5 ให้ร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมและมุ่งสู่การใช้พลังงานสะอาด

 

ส.2 ดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

 

 

แผนระดับ 3

 

 

แผนการศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ. 2560 -2579

 

1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ

 

2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

 

3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย  และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

 

4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา

 

5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิต

ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา

 

 

0

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

แผนปฏิบัติราชการฯ

ปี 2568 ศธ. 

 

1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคม

และประเทศ

 

 

(สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 1)

 

 

0

2. การผลิตและพัฒนากำลังคน เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

 

 

(สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 2)

 

0

3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

 

 

(สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 3)

 

4. การสร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา

ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาค

 

(สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 4)

 

5. การจัดการศึกษาเพื่อการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต

ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 

 

 

(สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 5)

 

6. การพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา

ให้ทันสมัย มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

 

(สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติที่ 6)

 

 

0

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

แผนปฏิบัติราชการฯ

ปี 2567 สป.

 

1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ

 

 

2. พัฒนากำลังคนเพื่อรองรับความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

 

3. พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ

 

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค  และความเท่าเทียม

ทางการศึกษา

 

5. ส่งเสริมการสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

 

6. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่เป็นเลิศ เพื่อสนับสนุน

การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา

 

0

1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงและปลอดภัย

 

2. การผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะ ตรงความต้องการของตลาดแรงงานรองรับการพัฒนาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก EEC

 

3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

 

4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง

 

5. การส่งเสริมและจัดการศึกษาเพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษาให้ทันสมัยตามหลักธรรมา-

ภิบาล

 

 

0

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์แผนปฏิบัติราชการ ศธจ. ฉะเชิงเทรา

ปี งปม. 2567

 

1.  พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง

 

 

2.  พัฒนากำลังคน

เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

 

(สอดคล้อง ยุทธ์ สป.ที่ 2)

 

3.  พัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ

 

(สอดคล้อง ยุทธ์ สป.ที่ 3)

 

4.  สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

 

 

(สอดคล้อง ยุทธ์ สป.ที่ 4)

 

5.  เสริมสร้างคุณภาพชีวิต

ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

 

(สอดคล้อง ยุทธ์ สป.ที่ 5)

 

6.  พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

 

 

(สอดคล้อง ยุทธ์ สป.ที่ 6)

9  แผนผังความเชื่อมโยงสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการ  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568  ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดฉะเชิงเทรา

 


วิสัยทัศน์


 

องค์กรคุณภาพ บริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการ  เรียนดี มีความสุข  รู้เท่าทันโลกยุคใหม่  พัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ EEC

 

พันธกิจ

 

1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ คุณธรรม  จริยธรรม มีความสุข และทักษะสำหรับโลกยุคใหม่

 

2. ส่งเสริม สนับสนุน สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียม เหมาะสมตามศักยภาพและช่วงวัยของผู้เรียน

 

3. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ทุกระดับ ทุกประเภท ทุกสังกัด ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

 

4. ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนตามความต้องการของตลาดแรงงาน

 

5. พัฒนาสมรรถนะของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา  ให้มีคุณภาพเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

 

6. ส่งเสริม  สนับสนุน การจัดการศึกษาโดยใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัล และน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ

 

7. บริหารจัดการศึกษาแบบบูรณาการทุกระดับ ทุกประเภท ทุกสังกัด ด้วยกลไกเครือข่ายทางการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

 

 

เป้าประสงค์รวม

(Goal : G)

 

1. ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึกความเป็นไทย เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่  และมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21

(G1 S1)

 

2. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง เสมอภาค และเท่าเทียม

(G2 S4)

 

3. ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและสมรรถนะที่ส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

(G3 S3)

 

4. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ  ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็วโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล

(G4 S3,S6)

 

5. หน่วยงานและสถานศึกษามีการจัดการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล และน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ

(G5 S4,S6)

 

6. หน่วยงานมีนวัตกรรมที่พัฒนาทักษะผู้เรียนตรงตามความต้องการของตลาดงาน

(G6 S2)

 

 


ประเด็นยุทธศาสตร์

(Strategy : S)

 

S1. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง

 

S2. พัฒนากำลังคน

เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

 

S3. พัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ

 

S4. สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

 

S5. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

 

S6. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

 

 



เป้าประสงค์รายประเด็นยุทธศาสตร์


 

1.1 ผู้เรียนได้รับการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและทักษะที่จำเป็นกับการเสริมสร้าง

ความมั่นคงของประเทศ

 

 

(S1)

 

2.1 ผู้เรียนมีสมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน

 

 

 

 

(S2)

 

 

3.1 ผู้เรียนมีคุณภาพ ความสุข ทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ ในโลก

ยุคใหม่

3.2 ครู และบุคลากรทางการศึกษามีคุณภาพและสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

(S3)

 

 

4.1 ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาคด้วยรูปแบบที่หลากหลาย

 

 

(S4)

 

 

5.1 หน่วยงานและสถานศึกษามีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร

กับสิ่งแวดล้อม

 

 

 

(S5)

 

 

6.1 หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการที่มี

ประสิทธิภาพและโปร่งใส

6.2 บูรณาการความร่วมมือหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

6.3 ข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาอื่นมีสมรรถนะเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคใหม่

(S6)

 

 


กลยุทธ์ ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์

 

1.1.1  ปลูกฝังค่านิยมและหลักคิดที่ถูกต้องของผู้เรียนเพื่อธำรงไว้ซึ่งสถาบันหลักของชาติตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1.1.2 บูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบใหม่

1.1.3 สร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้และวิชาชีพด้วยศาสตร์พระราชาและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

 

2.1 .1 ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะแรงงานฝีมือตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

 

2.1.2 ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะและสมรรถนะด้าน Soft Power ให้กับผู้เรียน

 

3.1.1  ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้  และพัฒนาศักยภาพตามพหุปัญญาผ่านการเรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลายรองรับโลกยุคใหม่

3.1.2  ส่งเสริม สนับสนุน การใช้สื่อ เทคโนโลยีดิจิตัล แพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่เหมาะสม ให้ครอบคลุมหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

3.1.3  บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ความปลอดภัยของผู้เรียนและความเป็นพลเมืองตื่นรู้

3.1.4  ส่งเสริมและพัฒนาการวิจัย นวัตกรรมทางการบริหารและพัฒนาการศึกษาที่มีคุณภาพ

 

3.2.1  ยกระดับคุณภาพและสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

 

4.1.1  สร้างและเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง

เสมอภาคและเท่าเทียม

 

5.1.1  สร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักรู้คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยรูปแบบที่หลากหลาย

 

6.1.1   เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง

6.1.2 ส่งเสริมและพัฒนาการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการและผู้รับบริการ

 

6.2.1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการศึกษาให้เป็นเอกภาพ เป็นปัจจุบันและเชื่อมโยงกันในทุกระดับ ทุกประเภท ทุกสังกัด

6.2.2 สร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบในกิจกรรม รณรงค์ เฝ้าระวัง และติดตามพฤติกรรมเสี่ยงการทุจริต

 

6.3.1 พัฒนาข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษาอื่นเพื่อยกระดับขีดสมรรถนะให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่

 

 


Top